เลือกอย่างไรในภาวะวิกฤต ? เมื่อหมอ... ต้องเลือกชีวิตคน
"หากมีวิกฤตที่ไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้นมาเยือนประเทศไทย ชีวิตของผู้ป่วยทุกคนจะเป็นอย่างไร ?"
เมื่อมีวิกฤตทางการแพทย์
แพทย์จะเลือกรักษาอย่างไรดี ?
โดยสามารถสรุปได้ว่าเกณฑ์ที่เสนอให้นำมาใช้ได้หากสถานการณ์เลวร้ายลงจนถึงที่สุด คือเกณฑ์ที่ทางการแพทย์เรียกกันว่า...
"การพยากรณ์โรค (clinical prognosis)"
เป็นการพิจารณาอาการและโรคต่างๆ ของผู้ป่วย และคาดการณ์ว่าอาการจะรุนแรงขึ้นหรือไม่ โรคจะหายหรือไม่ ผู้ป่วยมีความเสี่ยงที่จะเสียชีวิตมากหรือน้อยเพียงใด
ซึ่งสิ่งที่ผู้ป่วยภาวะวิกฤตต้องพบ เมื่อเกิดวิกฤตทางสาธารณะสุข...
โดยมีอยู่ทั้งหมด 4 เครื่องมือด้วยกัน ดังนี้
1. ดัชนีโรคร่วมชาร์ลสัน (Charlson comorbidity index)
2. เกณฑ์การประเมินอวัยวะล้มเหลว (sequential organ failure assessment - SOFA)
3. การประเมินภาวะเปราะบาง (frailty assessment)
ซึ่งมีเครื่องมือในการวัดให้เลือกใช้ได้ 2 เครื่องมือ ดังนี้
4. การทดสอบภาวะความรับรู้บกพร่อง (cognitive impairment assessment)
โดยมีเครื่องมือประเมินให้เลือกใช้ได้ 2 เครื่องมือดังนี้
ซึ่ง "แบบทดสอบสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย" เป็นแบบสอบถาม 11 ข้อ ทดสอบการรับรู้ต่างๆ หากคะแนนน้อยจะเท่ากับมีปัญหาด้านการรับรู้มาก และการพยากรณ์โรคไม่ดี
และ "แบบการตรวจสภาพจิตแบบย่อ" ซึ่งจะทดสอบการทำหน้าที่ของสมองด้านการรับรู้ด้วยคำถามทั่วไป หากคะแนนน้อยจะเท่ากับมีปัญหาด้านการรับรู้มาก และการพยากรณ์โรคไม่ดี
คณะกรรมการประเมินภาวะผู้ป่วย ผู้ที่ช่วยรักษาจิตใจของแพทย์ ซึ่งแพทย์คนนึงต้องแบกรับความทุกข์ใจมากแค่ไหนทั้งแรงกดดันจากเสียงร่ำไห้และคำครหาจากญาติผู้ป่วย อคติจากบุคคลภายนอกที่ไม่เข้าใจกระบวนการตัดสินใจ และความทรมานจากหัวใจของคนที่ทำหน้าที่ช่วยชีวิต
ซึ่งการเตรียมตัวให้พร้อมสำหรับภาวะวิกฤต โดยเฉพาะการเลือกว่าจะช่วยชีวิตใครถือเป็นประเด็นอ่อนไหวต่อสังคม และต้องการแลกเปลี่ยนพูดคุยในวงสนทนาอย่างจริงจัง...
ยังไม่มีความคิดเห็น คุณเป็นคนแรกที่แสดงความเห็น